หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต
(Master of Political Science)
- มีความสามารถในการนำแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ด้านการเมืองการปกครอง การบริหารรัฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไปอธิบายและวิเคราะห์การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมระดับชาติและระดับนานาชาติได้ หรือนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้
- มีศักยภาพในการวิจัยด้านรัฐศาสตร์ และสามารถเสนอข้อเสนอใหม่ต่อวงวิชาการรัฐศาสตร์
- มีความตระหนักรู้เรื่องคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาการ มีธรรมภิบาลและรับผิดชอบต่อสังคมการเมืองไทย
การรับเข้าศึกษา: นิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา: เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559
- หลักสูตร แผน ก แบบ ก 2 ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากสถาบัน อุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษารับรอง
- หลักสูตร แผน ข ต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษารับรอง
- ตำแหน่งต่างๆ ในกระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการ เช่น เจ้าพนักงานปกครอง ตำรวจ ทหาร เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผนงาน
- ตำแหน่งต่างๆ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับ เช่น เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผนงาน
- ตำแหน่งต่างๆ ในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลปกครอง สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
- หน่วยงานเอกชนในตำแหน่งต่างๆ เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม ผู้สื่อข่าวการเมือง ผู้สื่อข่าวต่างประเทศ
- ตำแหน่งต่างๆ ในสถาบันการศึกษาและองค์กรพัฒนาเอกชนต่างๆ เช่น อาจารย์ นักวิชาการ และนักวิจัย
แผน ก แบบ ก 2
1) งานรายวิชา (Course Work) ไม่น้อยกว่า 24
1.1 วิชาบังคับ 9
1.2 วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 15
2) วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า 12
3) การค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า –
4) วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต 6
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 36
แผน ข
1) งานรายวิชา (Course Work) ไม่น้อยกว่า 30
1.1 วิชาบังคับ 9
1.2 วิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 21
2. วิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกว่า –
3. การค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า 6
4. วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต 6
หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 36
*หมายเหตุ: นิสิตอาจต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพิ่มเติมเป็นรายวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิตโดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
หลักสูตรแผน ก แบบ ก 2
1) งานรายวิชา จำนวนไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
1.1) วิชาบังคับ จำนวน 9 หน่วยกิต
- 833511 ทฤษฎีการเมือง (Political Theory)
- 833512 ทฤษฎีและแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Theories and Concepts of Public Administration)
- 833513 ทฤษฎีและแนวคิดทางการเมืองระหว่างประเทศ (Theories and Concepts in International Politics)
1.2) วิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้จากกลุ่มวิชาใดก็ได้ ภายใต้ความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา และคณะกรรมการประจำหลักสูตร
กลุ่มวิชาการเมืองการปกครอง
- 833521 ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy)
- 833522 การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics)
- 833523 การเมืองการปกครองไทย (Thai Politics and Government)
- 833524 อาณาบริเวณศึกษา (Area Studies)
- 833525 ประเด็นร่วมสมัยทางการเมืองการปกครอง (Contemporary Topics in Politics and Government)
- 833526 เศรษฐกิจการเมือง (Political Economy)
833527 ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movements)
กลุ่มวิชารัฐประศาสนศาสตร์
- 833531 นโยบายสาธารณะกับการเมือง (Public Policy and Politics)
- 833532 ธรรมาภิบาลและการจัดการท้องถิ่น (Local Governance and Management)
- 833533 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ (Human Resource Management and Human Resoure Development in Public Organization)
- 833534 การบริหารการคลังและงบประมาณ (Pubic Budgeting and Financial Adminstration)
- 833535 การจัดการภาครัฐในยุคดิจิทัล (Public Management in the Digital Age)
- 833536 ประเด็นร่วมสมัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Contemporary Topics in Public Administration)
- 833537 การจัดการวิกฤติและภัยภิบัติ (Crisis and Disaster Management)
- 833538 การคลังสาธารณะ (Public Finance)
กลุ่มวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
- 833541 อาเซียนในการเมืองโลก (ASEAN in World Politics)
- 833542 การเมืองการปกครองในเอเชียตะวันออก (Politics and Government in East Asia
- 833543 การวิเคราะห์นโยบายต่างประเทศ (Foreign Policy Analysis)
- 833544 ความมั่นคงศึกษา (Security Studies)
- 833545 ประเด็นร่วมสมัยทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Contemporary Topics in International Relations)
- 833546 ความขัดแย้งและสันติวิธีศึกษา (Conflict and Peace Studies)
- 833547 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเด็นสิ่งแวดล้อม (International Environmental Relations)
2) วิทยานิพนธ์ จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
ให้เลือกอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และทำวิทยานิพนธ์ ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำหลักสูตร
- 833561 วิทยานิพนธ์ 1 แผน ก แบบ ก 2 (Thesis 1, Type A 2)
- 833562 วิทยานิพนธ์ 2 แผน ก แบบ ก 2 (Thesis 2, Type A 2)
- 833563 วิทยานิพนธ์ 3 แผน ก แบบ ก 2 (Thesis 3, Type A 2)
3) รายวิชาบังคับไม่นับหน่ยกิต จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
- 833501 ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ (Research Methodology in Social Sciences)
- 833502 สัมมนาทางรัฐศาสตร์ 1 (Seminar in Political Science 1 )
- 833503 สัมมนาทางรัฐศาสตร์ 2 (Seminar in Political Science 2 )
- 833504 สัมมนาทางรัฐศาสตร์ 3 (Seminar in Political Science 3 )
แผน ข
1) งานรายวิชา จำนวนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
1.1) วิชาบังคับ จำนวน 9 หน่วยกิต
- 833511 ทฤษฎีการเมือง (Political Theory)
- 833512 ทฤษฎีและแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Theories and Concepts of Public Administration)
- 833513 ทฤษฎีและแนวคิดทางการเมืองระหว่างประเทศ (Theories and Concepts in International Politics)
1.2) วิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้จากกลุ่มวิชาใดก็ได้ ภายใต้ความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา และคณะกรรมการประจำหลักสูตร
กลุ่มวิชาการเมืองการปกครอง
- 833521 ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy)
- 833522 การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics)
- 833523 การเมืองการปกครองไทย (Thai Politics and Government)
- 833524 อาณาบริเวณศึกษา (Area Studies)
- 833525 ประเด็นร่วมสมัยทางการเมืองการปกครอง (Contemporary Topics in Politics and Government)
- 833526 เศรษฐกิจการเมือง (Political Economy)
- 833527 ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม (Social Movements)
กลุ่มวิชารัฐประศาสนศาสตร์
- 833531 นโยบายสาธารณะกับการเมือง
- 833532 ธรรมาภิบาลและการจัดการท้องถิ่น (Local Governance and Management)
- 833533 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ (Human Resource Management and Human Resoure Development in Public Organization)
- 833534 การบริหารการคลังและงบประมาณ (Pubic Budgeting and Financial Adminstration)
- 833535 การจัดการภาครัฐในยุคดิจิทัล (Public Management in the Digital Age)
- 833536 ประเด็นร่วมสมัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Contemporary Topics in Public Administration)
- 833537 การจัดการวิกฤติและภัยภิบัติ (Crisis and Disaster Management)
- 833538 การคลังสาธารณะ (Public Finance)
กลุ่มวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
- 833541 อาเซียนในการเมืองโลก (ASEAN in World Politics)
- 833542 การเมืองการปกครองในเอเชียตะวันออก (Politics and Government in East Asia)
- 833543 การวิเคราะห์นโยบายต่างประเทศ (Foreign Policy Analysis)
- 833544 ความมั่นคงศึกษา (Security Studies)
- 833545 ประเด็นร่วมสมัยทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Contemporary Topics in International Relations)
- 833546 ความขัดแย้งและสันติวิธีศึกษา (Conflict and Peace Studies)
- 833547 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับประเด็นสิ่งแวดล้อม (International Environmental Relations)
2) การค้นคว้าอิสระ (Independent Study) จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ให้เลือกอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ และทำการค้นคว้าอิสระ ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำหลักสูตร
- 833571 การค้นคว้าอิสระ 1 (Independent Study 1)
- 833572 การค้นคว้าอิสระ 2 (Independent Study 2)
- 833573 การค้นคว้าอิสระ 3 (Independent Study 3)
3) รายวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
- 833501 ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์ (Research Methodology in Social Sciences)
- 833502 สัมมนาทางรัฐศาสตร์ 1 (Seminar in Political Science 1)
- 833503 สัมมนาทางรัฐศาสตร์ 2 (Seminar in Political Science 2)
- 833504 สัมมนาทางรัฐศาสตร์ 3 (Seminar in Political Science 3)