หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
(Bachelor of Arts Program in Political Science)
- มีความรอบรู้ด้านวิชาการทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์เบื้องต้น มีทักษะการเขียนและการคิดวิเคราะห์ และสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมกับบริบทของสังคม
- มีความรู้ความสามารถทางด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ทั้งในเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ
- มีทักษะในการสังเคราะห์ข้อมูลและการทำวิจัยทางด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
- มีการบูรณาการองค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ให้เข้ากับศาสตร์อื่น เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน
การรับเข้าศึกษา: รับเฉพาะนิสิตไทย
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา: เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 และข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2559
วิชาเอกการเมืองการปกครอง
- กระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น เจ้าพนักงานปกครอง ตำรวจ ทหาร นักจัดการงานทั่วไป นักวิเคราะห์นโยบายและแผน พนักงานคุมประพฤติ นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น นักจัดการงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
- องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เช่น ศาลปกครอง ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ศาลปกครอง หรือ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งในตำแหน่งเจ้าหน้าที่เลือกตั้ง เป็นต้น
- หน่วยงานเอกชน เช่น ผู้สื่อข่าวการเมือง นักวิเคราะห์ข่าวการเมือง เป็นต้น
- สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิชาการ นักวิจัย
- องค์กรพัฒนาเอกชนต่าง ๆ เช่น นักเคลื่อนไหว นักรณรงค์
วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
- กระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น นักการทูต นักวิเทศสัมพันธ์
- หน่วยงานเอกชน เช่น ผู้สื่อข่าวต่างประเทศ นักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างประเทศ เป็นต้น
- สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิชาการ นักวิจัย
- องค์กรพัฒนาเอกชนระหว่างประเทศ เช่น นักเคลื่อนไหว นักรณรงค์
- องค์การระหว่างประเทศและสถานทูต เช่น เจ้าหน้าที่โครงการ เจ้าหน้าที่กิจการด้านการเมือง
วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์
- กระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น เจ้าพนักงานปกครอง ตำรวจ ทหาร นักจัดการงานทั่วไป นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการพัสดุ
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระดับในตำแหน่งต่าง ๆ เช่น นักจัดการงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน บุคลากร นักวิชาการคลัง
- หน่วยงานเอกชน เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม เจ้าหน้าที่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
- สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชน เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิชาการ นักวิจัย
- องค์กรพัฒนาเอกชนต่าง ๆ เช่น นักเคลื่อนไหว นักรณรงค์
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 126 หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร วิชาเอกการเมืองการปกครอง วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิชาเอกรัฐประศาสน-ศาสตร์ ประกอบด้วยหมวดวิชาที่สอดคล้องกับที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30
1.1 วิชาบังคับ 30
1.2 วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต 1
2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 90
2.1 วิชาแกน ไม่น้อยกว่า 33
2.2 วิชาเอก 57
2.2.1 วิชาเอกบังคับ ไม่น้อยกว่า 30
2.2.2 วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 15
2.3 วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี 6
2.4 การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศหรือสหกิจศึกษา หรือการฝึกงาน 6
3. หมวดวิชาเลือกเสรี* ไม่น้อยกว่า 30
ประธานหลักสูตร
ดร.ศิวาภรณ์ ไชยเจริญ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
วิชาเอกการเมืองการปกครอง
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิวากร แก้วมณี
- ดร.จุฑามณี สามัคคีนิชย์
- ดร.ปวงชน อุนจะนำ
วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิกรณ์ ชูวัฒนานุรักษ์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรไท โสภารัตน์
- ดร.พลดา เดชพลมาตย์
วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีรธร บุณยรัตพันธุ์
- ดร.ดาริน คงสัจวิวัฒน์
- ดร.ศิวาภรณ์ ไชยเจริญ
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ตามกลุ่มรายวิชาดังต่อไปนี้
1.1) กลุ่มวิชาภาษา จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
- 001201 ทักษะภาษาไทย (Thai Language Skills)
- 001211 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน (Fundamental English
- 001212 ภาษาอังกฤษพัฒนา (Developmental English)
- 001213 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ (English for Academic Purposes)
1.2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้
- 001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า (Information Science for Study and Research)
- 001222 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม (Language, Society and Culture)
- 001224 ศิลปะในชีวิตประจำวัน (Arts in Daily Life)
- 001225 ความเป็นส่วนตัวของชีวิต (Life Privacy)
- 001226 วิถีชีวิตในยุคดิจิทัล (Ways of Living in the Digital Age)
- 001227 ดนตรีวิถีไทยศึกษา (Music Studies in Thai Culture)
- 001228 ความสุขกับงานอดิเรก (Happiness with Hobbies)
- 001229 รู้จักตัวเอง เข้าใจผู้อื่น ชีวิตที่มีความหมาย (Know Yourself, Understand Others, Meaningful Life)
- 001241 ดนตรีตะวันตกในชีวิตประจำวัน (Western Music in Daily Life)
- 001242 การคิดเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creative Thinking and Innovation)
1.3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้
- 001231 ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน (Philosophy of Life for Sufficient Living)
- 001232 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต (Fundamental Laws for Quality of Life)
- 001233 ไทยกับประชาคมโลก (Thai State and the World Community)
- 001234 อารยธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น (Civilization and Local Wisdom)
- 001235 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (Politics, Economy and Society)
- 001236 การจัดการการดำเนินชีวิต (Living Management)
- 001237 ทักษะชีวิต (Life Skills)
- 001238 การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy)
- 001239 ภาวะผู้นำกับความรัก (Leadership and Compassion)
- 001251 พลวัตกลุ่มและการทำงานเป็นทีม (Group Dynamics and Teamwork)
- 001252 นเรศวรศึกษา (Naresuan Studies)
- 001253 การเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship)
1.4) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่อไปนี้
- 001271 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (Man and Environment)
- 001272 คอมพิวเตอร์สารสนเทศขั้นพื้นฐาน (Introduction to Computer Information Science)
- 001273 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน (Mathematics and Statistics in Everyday life
- 001274 ยาและสารเคมีในชีวิตประจำวัน (Drugs and Chemicals in Daily Life)
- 001275 อาหารและวิถีชีวิต (Food and Life Style)
- 001276 พลังงานและเทคโนโลยีใกล้ตัว (Energy and Technology Around Us)
- 001277 พฤติกรรมมนุษย์ (Human Behavior)
- 001278 ชีวิตและสุขภาพ (Life and Health)
- 001279 วิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Science in Everyday Life)
1.5) กลุ่มวิชาพลานามัย บังคับไม่นับหน่วยกิต จำนวน 1 หน่วยกิต
- 001281 กีฬาและการออกกำลังกาย (Sports and Exercises)
2) หมวดวิชาเฉพาะ กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต ประกอบด้วย
2.1) วิชาแกน กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 33 หน่วยกิต ประกอบด้วย
- 205200 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ (Communicative English for Specific Purposes)
- 205201 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการวิเคราะห์เชิงวิชาการ (Communicative English for Academic Analysis)
- 205202 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอผลงาน (Communicative English for Research Presentation)
- 214110 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น (Introduction to Economics)
- 230478 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (Introduction to Law)
- 830101 แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (Sociological and Anthropological Theories and Concepts)
- 833100 การเขียนและการค้นคว้าทางรัฐศาสตร์ (Writing and Inquiry in Political Science)
- 833101 การเมืองการปกครองเบื้องต้น (Introduction to Politics and Government)
- 833102 การเมืองการปกครองไทย (Thai Politics and Government)
- 833103 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น (Introduction to International Relations)
- 833104 รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น (Introduction to Public Administration)
- 833300 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์ (Research Methodology in Political Science)
- 835321 จิตวิทยาสังคม (Social Psychology)
2.2) วิชาเอก กำหนดให้เรียนวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือกของแต่ละสาขาวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต ประกอบด้วย
2.2.1) วิชาเอกการเมืองการปกครอง กำหนดให้เรียนวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต ประกอบด้วย
(1) วิชาเอกบังคับ กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้
- 833210 ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น (Introduction to Political Philosophy)
- 833211 การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics)
- 833212 ทฤษฎีการเมือง
- 833213 การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย
- 833214 การเปลี่ยนสู่ประชาธิปไตย (Democratization)
- 833215 สถาบันการเมืองและกระบวนการทางการเมืองไทย (Thai Political Institution and Process)
- 833310 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับนักรัฐศาสตร์ (Civil Law and Commercial Law for Political Scientists)
- 833311 กฎหมายอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Criminal Law for Political Scientists)
- 833312 เศรษฐกิจการเมือง (Political Economy)
- 833313 กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายปกครอง (Constitutional Law and Administrative Law)
- 833210 ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น (Introduction to Political Philosophy)
- 833211 การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics)
- 833212 ทฤษฎีการเมือง
- 833213 การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย
(2) วิชาเอกเลือก กำหนดให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้
- 833314 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Criminal Procedure for Political Scientists)
- 833315 กฎหมายลักษณะพยานสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Law of Evidence for Political Scientists)
- 833316 อุดมการณ์ทางการเมืองร่วมสมัย (Contemporary Political Ideology)
- 833317 ความคิดทางการเมืองที่ไม่ใช่ตะวันตก (Non-Western Political Thought)
- 833318 ทุนนิยม (Capitalism)
- 833319 ทฤษฎีการเมืองมาร์กซิสต์ (Marxist Political Theory)
- 833410 ความคิดทางการเมืองของนิคโคโล มาคิอาเวลลี (Niccolo Machiavelli and his Political Thought)
- 833411 ความคิดทางการเมืองของอันโตนิโอ กรัมชี่ (Antonio Gramsci and his Political Thought)
- 833412 การเคลื่อนไหวทางสังคม : ทฤษฎีและปฏิบัติ (Social Movement: Theory and Practice)
- 833413 การจัดการปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ (Comparative Local Governance)
- 833414 การเมืองการปกครองในเอเชียตะวันออก (East Asian Government and Politics)
- 833415 กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง และการเลือกตั้ง (Interest Groups, Political Parties and Elections)
- 833416 ภาวะผู้นำและการมีส่วนร่วมของประชาสังคม (Leadership and Civil Engagement)
- 833417 อุดมการณ์อนุรักษ์นิยมและขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติ (Conservatism and Counterrevolution)
- 833418 การปฏิวัติ การกบฏและการต่อต้านขัดขืน (Revolution, Rebellion, and Resistance)
- 833419 ศาสนาและการเมือง (Religion and Politics)
- 833440 เพศสภาพและการเมือง (Gender and Politics)
- 833441 ภาพยนตร์และการเมือง (Film and Politics)
- 833442 ประชาธิปไตยครึ่งใบเชิงวิพากษ์
- 833443 วรรณกรรมคัดสรรในทางรัฐศาสตร์ (Selected Readings in Political Science)
- 833444 สัมมนาการเมืองไทยสมัยใหม่ (Seminar in Modern Thai Politics)
- 833445 สัมมนารัฐกับประชาสังคม (Seminar in State and Civil Society)
(3) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี กำหนดให้เรียนจำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
- 833491 วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี (Undergraduate Thesis)
(4) การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ หรือสหกิจศึกษา หรือการฝึกงาน กำหนดให้เลือกเรียน 1 รายวิชา จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
- 833492 การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ (International Academic or Professional Training)
- 833493 สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
- 833494 การฝึกงาน (Professional Training)
*หมายเหตุ: ให้นิสิตเลือกรายวิชาการฝึกงาน ในกรณีที่หน่วยฝึกไม่สามารถรับนิสิตสหกิจศึกษาได้
2.2.2) วิชาเอกความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กำหนดให้เรียนวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต ประกอบด้วย
(1) วิชาเอกบังคับ กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้
- 833211 การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics)
- 833220 ทฤษฎีทางความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Theories of International Relations)
- 833221 ประวัติศาสตร์การทูตและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (History of Diplomacy and International Relations)
- 833222 สถาบันและองค์การระหว่างประเทศ (International Institutions and Organizations)
- 833320 เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ (International Political Economy)
- 833321 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย (Thai Foreign Relations)
- 833322 กฎหมายระหว่างประเทศและประเด็นโลกร่วมสมัย
- 833323 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (International Relations of Southeast Asia)
และกำหนดให้เลือกเรียนกลุ่มรายวิชาภาษาต่างประเทศต่อไปนี้กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งจำนวน 6 หน่วยกิต ประกอบด้วย
กลุ่มวิชาภาษาจีน
- 206111 ภาษาจีน 1 (Chinese I)
- 206112 ภาษาจีน 2 (Chinese II)
กลุ่มวิชาภาษาญี่ปุ่น
- 207101 ภาษาญี่ปุ่น 1 (Japanese I)
- 207102 ภาษาญี่ปุ่น 2 (Japanese II)
กลุ่มวิชาภาษาพม่า
- 218101 ภาษาพม่า 1 (Myanmar I)
- 218102 ภาษาพม่า 2 (Myanmar II)
กลุ่มวิชาภาษาฝรั่งเศส
- 219101 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น 1 (Elementary French I)
- 219102 ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น 2 (Elementary French II)
กลุ่มวิชาภาษาเกาหลี
- 221101 ภาษาเกาหลี 1 (Korean Language I)
- 221102 ภาษาเกาหลี 2 (Korean Language II)
กลุ่มวิชาภาษาอินโดนีเซีย
- 229101 ภาษาอินโดนีเซีย 1 (Indonesian I)
- 229102 ภาษาอินโดนีเซีย 2 (Indonesian II)
กลุ่มวิชาภาษาเวียดนาม
- 778201 ภาษาเวียดนาม 1 (Vietnamese I)
- 778202 ภาษาเวียดนาม 2 (Vietnamese II)
กลุ่มวิชาภาษาเขมร
- 780101 ภาษาเขมร 1 (Cambodian I)
- 780102 ภาษาเขมร 2 (Cambodian II)
(2) วิชาเอกเลือก กำหนดให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้
- 780101 โลกาภิวัตน์และการเมืองโลก (Globalization and World Politics)
- 780102 การก่อการร้ายและการศึกษาความมั่นคงในระดับโลก (Terrorism and Global Security Studies)
- 780101 ชาติพันธุ์และชาตินิยมในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Ethnicity and Nationalism in International Relations
- 780102 วรรณกรรมคัดสรรในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Selected Readings in International Relations)
- 780101 การเมืองระหว่างประเทศกับภาพยนตร์ (International Politics and Film)
- 780102 เอเชียตะวันออกร่วมสมัย (Contemporary East Asia)
- 780101 นโยบายต่างประเทศของประเทศมหาอำนาจ (Foreign Policies of Major Powers)
- 780102 การก่อตัวและการสิ้นสุดของจักรวรรดิในเอเชียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ (Rise and Fall of Empires in East and Southeast Asia)
- 780101 สันติศึกษาในโลกร่วมสมัย (Peace Studies in Contemporary World )
- 780102 สิทธิมนุษยชนและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
- 780101 ทักษะและปฏิบัติการทางการทูต
- 780102 สัมมนาประเด็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศร่วมสมัย (Seminar in Contemporary Issues of International Relations)
(3) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี กำหนดให้เรียนจำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
- 833491 วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี (Undergraduate Thesis)
(4) การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ หรือสหกิจศึกษา หรือการฝึกงาน กำหนดให้เลือกเรียน 1 รายวิชา จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
- 833492 การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ (International Academic or Professional Training)
- 833493 สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
- 833494 การฝึกงาน (Professional Training)
หมายเหตุ: ให้นิสิตเลือกรายวิชาการฝึกงาน ในกรณีที่หน่วยฝึกไม่สามารถรับนิสิตสหกิจศึกษาได้
2.2.3) วิชาเอกรัฐประศาสนศาสตร์ กำหนดให้เรียนวิชาเอกบังคับและวิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต ประกอบด้วย
(1) วิชาเอกบังคับ กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้
- 833230 องค์การและการจัดการสาธารณะ (Public Organization and Management)
- 833231 นโยบายสาธารณะ (Public Policy)
- 833232 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ (Human Resource Management in Public Sector)
- 833233 การบริหารงานคลังสาธารณะ (Public Finance Administration)
- 833234 กฎหมายปกครองและการบริหารงานภาครัฐ (Administrative Law and Public Sector Administration
- 833235 ธรรมาภิบาลและจริยธรรมในการบริหารงานภาครัฐ (Good Governance and Ethics in Public Administration)
- 833330 การบริหารงานภาครัฐไทย (Thai Public Sector Administration)
- 833331 การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ (Comparative Public Administration)
- 833332 สถิติเพื่อการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Statistics for Public Administration Research)
- 833333 ประเด็นร่วมสมัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Contemporary Issues in Public Administration)
(2) วิชาเอกเลือก กำหนดให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้
- 8333213 การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย (Thai Local Government and Politics)
- 833310 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับนักรัฐศาสตร์ (Civil Law and Commercial Law for Political Scientists)
- 833311 กฎหมายอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Criminal Law for Political Scientists)
- 833314 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Criminal Procedure for Political Scientists)
- 833315 กฎหมายลักษณะพยานสำหรับนักรัฐศาสตร์ (Law of Evidence for Political Scientists)
- 833334 การบริหารงานท้องถิ่นไทย (Thai Local Administration)
- 8333335 การคลังท้องถิ่น (Public Finance in Local Administration)
- 833336 การจัดการภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ (Emergency and Disaster Management)
- 833337 พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior)
- 833338 การบริหารโครงการ (Project Management)
- 833339 แรงงานสัมพันธ์ (Labor Relations)
- 833413 (การจัดการปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ (Comparative Local Governance)
- 833430 การจัดการความขัดแย้งในการบริหารงานภาครัฐ (Conflict Management in Public Administration)
- 833431 การปกครองและพัฒนาเขตเมือง (Urban Governance and Development)
- 833432 การจัดการและนโยบายสิ่งแวดล้อม (Environmental Governance and Policy)
- 833433 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development)
- 833434 การพัฒนาองค์การ (Organizational Development)
- 833435 การบริหารเชิงกลยุทธ์ในภาครัฐ (Strategic Management in Public Sector)
(3) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี กำหนดให้เรียนจำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
- 833491 วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาตรี ()Undergraduate Thesis)
(4) การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ หรือสหกิจศึกษา หรือการฝึกงาน กำหนดให้เลือกเรียน 1 รายวิชา จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
- 833492 การฝึกอบรมหรือการฝึกงานในต่างประเทศ (International Academic or Professional Training)
- 833493 สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
- 833494 การฝึกงาน (Professional Training)
หมายเหตุ: ให้นิสิตเลือกรายวิชาการฝึกงาน ในกรณีที่หน่วยฝึกไม่สามารถรับนิสิตสหกิจศึกษาได้
3) หมวดวิชาเลือกเสรี กำหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยนิสิตสามารถเลือกเรียนในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยนเรศวรหรือสถาบันการศึกษาอื่นที่มหาวิทยาลัยนเรศวรรับรอง