ใต้ร่มราชพฤกษ์:

ผศ.สุพรรณี เกลื่อนกลาด
หัวหน้าภาควิชา

Asst. Prof. Supannee Kluanklad
Head of the Department of History
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1935
Email: supanneek@nu.ac.th

  • ศศ.ม. (เศรษฐศาสตร์การเมือง), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยนเรศวร

โครงการวิจัย

  • โครงการวิจัยเรื่อง “ขบวนการทางสังคมของคนพิการไทย” (Social Movement of Thai Disabilities), กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ, 2560.
  • โครงการพัฒนาและวิจัยเพื่อสนับสนุนการจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอที่มุ่งสู่อำเภอสร้างเสริมสุขภาพกรณีศึกษาอำเภอ โพธิ์ประทับช้าง จังหวัด พิจิตร, 2557.
  • โครงการศึกษาการพนันกับการแข่งขันเรือยาวประเพณี ภายใต้การสนับสนุนจากศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.
  • Raising Awareness and Engaging Citizens in Local Governance, USAID, 2556.
  • โครงการพัฒนาตลาดเมืองเก่าสุโขทัย “ตลาด 700 ปี” ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย กระทรวงสาธารณสุข, 2555.
  • โครงการ “การจัดการระบบตลาดและศึกษาความสัมพันธ์ชุมชนกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม” เพื่อการขับเคลื่อนตลาดเมืองเก่า 700 ปี ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย กระทรวงสาธารณสุข, 2554.
  • โครงการ “การจัดการท้องถิ่นเพื่อการศึกษา: กรณีศึกษาศูนย์การเรียนรู้” ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2553.
  • โครงการศึกษาวิจัยการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Best Practices) “กรณีศึกษาองค์การบริหารจังหวัดแพร่” ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกล้า, 2552.
  • โครงการศึกษาวิจัยการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Best Practices) “กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลเมืองบางขลัง จังหวัดสุโขทัย” ภายใต้การสนับสนุนจากสถาบันพระปกเกล้า, 2552.

บทความ

  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2558. “ชนบทในนิมิตร: ภาพฝันเพื่อชนชั้นกลาง?” ชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์, ปีที่ 5 ฉบับที่ 8 (มกราคม-มิถุนายน, 2558): 55-93.
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาดและคณะ. 2558. “การแสวงหาอนาคตร่วมกันบนพื้นฐานอัตลักษณ์ส่วนบุคคลของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์.” วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), ปีที่ 8 (มกราคม-เมษายน, 2558).
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2553. “โครงการศึกษาการพนันกับการแข่งขันเรือยาวประเพณี.” วารสารบัณฑิตศึกษามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม, 2556): 79-96.
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2553. “รถโดยสารประจำทางจากบ้านไร่ถึงตลาดคลองตาล: อดีตและปัจจุบัน.” ใน ประวัติศาสตร์ปริทัศน์. พิษณุโลก: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2553. “โครงการเสวนาประวัติศาสตร์ใส่บาตรบวชพระสามัคคี ครั้งที่ 1-2-3 องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย.” ใน บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า’ 52: ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2553.
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2553. “ศูนย์เครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น หรือ Clinic Center ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่.” ใน บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า’ 52: ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2553.
  • สุพรรณี เกลื่อนกลาด. 2552. “การจัดการทรัพยากรท่องเที่ยวในท้องถิ่นของ อบต. เมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย.” ใน พลวัตชุมชนภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก: สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • โครงการศึกษาวิจัยการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2558(Best Practices) ได้รับรางวัลได้รับรางวัลพระปกเกล้าด้านการเสริมสร้างสันติสุขและความสมานฉันท์ กรณีศึกษาเทศบาลนครพิษณุโลก อ.เมือง จ.พิษณุโลก, 2558.
  • โครงการศึกษาวิจัยการบริหารงานที่เป็นเลิศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2558 (Best Practices) ได้รับรางวัลพระปกเกล้าด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรณีศึกษาเทศบาลตำบลกงไกรลาศ อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย, 2558.

รศ. ดร.ทวีศักดิ์ เผือกสม

Assoc.Prof.Dr.Davisakd  Puaksom
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1931
Email: davisakd.puaksom@gmail.com

  • Ph.D. (Southeast Asian Studies), National University of Singapore
  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ว.บ. (หนังสือพิมพ์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

โครงการวิจัย

  • โครงการวิจัยเรื่อง “วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์” โดยการสนับสนุนของเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ฝ่ายมนุษยศาสตร์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2561.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “ภูมิทัศน์ทางปัญญาแห่งประชาคมอาเซียน: เรียนรู้เพื่อร่วมเดินไปข้างหน้าด้วยกัน” โดยการสนับสนุนของเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2558.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “โครงการจัดทำพจนานุกรมภาษาอินโดนีเซีย-ไทยฉบับสมบูรณ์, พจนานุกรมภาษาไทย-อินโดนีเซียฉบับสมบูรณ์ และพจนานุกรมภาษาอินโดนีเซีย-ไทย กับภาษาไทย-อินโดนีเซียฉบับพกพา” โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2553-2555.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “สภาวะความเป็นสมัยใหม่อันแตกกระจาย: การค้นหาประวัติศาสตร์ สังคม-วัฒนธรรมของปาตานี (Fragmented Modernities: The Quest for a Social and Cultural History of Patani)” ภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธิเอเชีย (Asia Foundation), 2553-2554.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “การทำอิสลามให้เป็นชวา” รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ภายใต้ชุด โครงการ “ความสัมพันธ์ไทยกับโลกอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” โดยการสนับสนุนของสำนักวิจัยแห่งชาติ (วช.), สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2550-2553.
  • โครงการวิจัยเรื่อง “การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย: เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม” รายงานการวิจัยในโครงการภูมิปัญญาทักษิณ โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2545.

บทความ

  • Puaksom, D. 2017. “Review: Siam’s New Detectives: Visualizing Crime and Conspiracy in Modern Thailand, by Samson Lim (Honolulu: University of Hawaii Press, 2016).” Technology and Culture, Vol.58 (July 2017): 883-4.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2558. “วีรบุรุษไพร่แดงในชวา,” น.353-382. ใน เจ้าพ่อ ประวัติศาสตร์ จอมขมังเวทย์, บรรณาธิการโดย ธนาพล ลิ่มอภิชาตและสุวิมล รุ่งเจริญ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยามปริทัศน์.
  • Puaksom, D. 2015. “Review: Cleanliness and Culture: Indonesian Histories, Edited by Kees van Dijk and Jean Gelman Taylor (KITLV Press, 2011); Consoling Ghosts: Stories of Medicine and Mourning from Southeast Asians in Exile, By Jean M. Langford (University of Minnesota Press, 2013); Global Movements, Local Concerns: Medicine and Health in Southeast Asia, Edited by Laurence Monnais and Harold J. Cook (NUS Press, 2012).” Journal of Southeast Asian Studies, Vol.46, No.1 (February): 147-150.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2557. “คำสัญญาของความปรารถนา: การเมืองว่าด้วยเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพกับวาทกรรมของศีลธรรมในช่วง 2490-2550.” แปลโดยจีรพล เกตุจุมพล. ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 12 ฉบับที่ 2-3 (พฤษภาคม-ธันวาคม 2557).
  • Puaksom, D. 2014. “A Promise of Desire: On the Politics of Health Care and Moral Discourse in Thailand, 1950-2010,” pp.175-196. In Public Health and National Reconstructions in Post-War Asia: International Influences, Local Transformations, edited by Liping Bu and Ka-che Yip. London and New York: Routledge.
  • Puaksom, D. 2007. “Of Germs, Public Hygiene, and the Healthy Body: The Making of the Medicalizing State in Thailand.” The Journal of Asian Studies, Vol.66, No.2 (May 2007): 311-344.
  • Puaksom, D. “Review: Claudia Merli’s Bodily practices and medical identities in southern Thailand (Uppsala: Uppsala Studies in Cultural Anthropology no.43, Acta Universitatis Uppsala, 2008).” Journal of Southeast Asian Studies, Vol.44, No.2 (2011): 368-370.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2552. “รูปเงาบนแผ่นดินชวาและวาลีทั้งเก้า.” รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์), ปีที่ 30 ฉบับฉบับพิเศษ เล่มที่ 1 (2552): 118-181.
  • Puaksom, D. 2008. “Of a Lesser Brilliance: Patani Historiography in Contention.” In Thai South and Malay North: Ethnic Interactions on a Plural Peninsular, edited by Michael J. Montesano and Patrick Jory (Singapore: NUS Press).

หนังสือ

  • ทวีศักดิ์ เผือกสม (บก.). 2561. ปัญญาชน ศีลธรรม และสภาวะสมัยใหม่: เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เคล็ดไทย, โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2560ก. เรย์นัลโด อิเลโต้: มวลชนคนชั้นล่าง ประวัติศาสตร์แห่งชาติ และความรู้แบบอาณานิคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2560ข. วงศาวิทยาของอิเหนา: ปัญหาเรื่องลิ้น ความลื่นไหลของสัญญะ และการเดินทางสู่โลกของปันหยี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ยิปซี.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2560ค. วีรบุรุษไพร่ชวา: รัฐมุสลิม สภานักบุญ และผู้มีกำเนิดจากไส้เดือนดิน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ยิปซี.
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2555. ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย: รัฐจารีตในหมู่เกาะ ความเป็นสมัยใหม่แบบอาณานิคม และสาธารณรัฐแห่งความหลากหลาย (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ).
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2550. เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2547. อินโดนีเซียรายา: รัฐจารีต สู่ “ชาติ” ในจินตนาการ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ).
  • ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2546. คนแปลกหน้านานาชาติของกรุงสยาม (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน).
  • ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 21 (2561)
  • รางวัลชมเชยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ประเภทหนังสือสารคดี เรื่อง “เรย์นัลโด อิเลโต้: มวลชนคนชั้นล่าง ประวัติศาสตร์แห่งชาติ และความรู้แบบอาณานิคม,” 29 มีนาคม 2561
  • Wang Gangwu Best Ph.D. Thesis and Prize, 2007-8, National University of Singapore -Research Scholarship, National University of Singapore, 2004-2007.
  • Special President’s Fellowship, National University of Singapore, 2004.
  • Darma Siswa Scholarship, Indonesian Government, 2003.
  • The Netherlands Fellowship Programme, Institute of Social Studies, The Hague, 1996.
  •  

รศ. ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล

Assoc.Prof.Dr. Wasin Punyawuttakul
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1940
Email: ajtop_1@hotmail.com

  • ศศ.ด. (พัฒนาสังคม), มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยว), มหาวิทยาลัยนเรศวร

โครงการวิจัย

  • การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงกลุ่มประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง เสนอต่อสำนักงานกองทุนการวิจัย (สกว.), กำลังดำเนินการ
  • การจัดการการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน เสนอต่อสำนักงานกองทุนการวิจัย (สกว.), 2558
  • การพัฒนารูปแบบและผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยวในจังหวัดพิษณุโลกเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวชาวไทยและนักท่องเที่ยวในกลุ่มอาเซียน (ผู้ร่วมวิจัย) ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจาก สำนักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2558
  • สถานการณ์ความเสี่ยงความอ่อนไหว และการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงต่อสภาพภูมิอากาศ (ผู้ร่วมวิจัย: ด้านการท่องเที่ยวและมรดกโลก) ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจาก สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.), 2558
  • มยุรี เหง้าสีวัฒน์: การนิยมความเป็นลาวในประชาคมโลก เสนอต่อสำนักงานกองทุนการวิจัย (สกว.), 2558
  • การเพิ่มมูลค่าและศักยภาพด้านการจัดการการท่องเที่ยวในจังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน, 2557
  • แนวทางการจัดการความมั่งคงในภาวะวิกฤตกองทัพภาค 3 เสนอต่อกองทัพบก กระทรวงกลาโหม, 2556
  • พลวัตของชุมชนลุ่มน้ำน่าน เสนอต่อคณะกรรมการลุ่มน้ำน่าน จังหวัดพิษณุโลก, 2552
  • พัฒนาเทศบาลตัวอย่างแบบบูรณาการ กรณีศึกษา นครบาลเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2547-2551 (วิจัยร่วม) เสนอเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์, 2551
  • โครงการจัดทำแผนแม่บทกลุ่มพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมสุโขทัย (วิจัยร่วม) เสนอสำนักงานการพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวกีฬาและนันทนาการ, 2551
  • โครงการออกแบบและจัดทำพิพิธภัณฑ์เมืองเพชรบูรณ์ เสนอต่อเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์, 2550
  • การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในพื้นที่ระเบียงวัฒนธรรม (กำแพงเพชรพิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย) เสนอต่อสำนักงานกองทุนการวิจัย (สกว.), 2550
  • การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดกำแพงเพชร เสนอต่อสำนักงานการท่องเที่ยวกีฬาและนันทนาการจังหวัดกำแพงเพชร, 2549
  • การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวแบบบูรณาการจังหวัดสุโขทัย เสนอต่อสำนักงานจังหวัดสุโขทัย, 2548
  • โครงการออกแบบและจัดทำอนุสรณ์สถานในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช และพิพิธภัณฑ์เหตุการณ์การต่อสู้ยุทธภูมิบ้านกกสะทอนอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย เสนอต่อกองทัพบก กระทรวงกลาโหม, 2547
บทความ
 
  • Panyavuttrakul, W., and Tinakhat, P. 2559. “Arts and Cultural Based Tourism Management in Uttaradit, Phrae and Nan Provinces.” วารสารอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน 7, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): 115-136.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล และอภิสิทธิ์ ปานอิน. 2559. สีสันแห่งชีวิตของคนถีบสามล้อเมืองพิษณุโลก. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการพิมพ์.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. “มะยุรี เหง้าสีวัทน์: การนิยามความเป็นลาวในประชาคมโลก.” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 9 “ปัญญาชน ศีลธรรม และภาวะสมัยใหม่: เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้?” 27-28 สิงหาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก; ชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์, ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 (มิถุนายน-ธันวาคม 2558): 457-473.

หนังสือ

  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: พ่อขุนรามคำแหงมหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: สมเด็จพระนารายณ์มหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 72558. ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: สมเด็จพระนเรศวรมหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. 7 ตำนานสมเด็จพระบูรพกษัตริย์แห่งสยาม: สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี, 2558.
  • บุณยสฤษฎ์ อเนกสุข และ วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2558. พิศโลกเมื่อแรกเที่ยว: พัฒนาการท่องเที่ยวในจังหวัดพิษณุโลก. เชียงใหม่: โรงพิมพ์แม็กซ์พริ้นติ้ง, 2558.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2556. ภูมิปริทัศน์ภาคเหนือตอนล่างสายธารอารยธรรมโขง-สาละวิน. ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • วศิน ปัญญาวุธตระกูล. 2556. พระราชวังจันทน์ สถานภาพ องค์ความรู้ รูปลักษณ์สัญฐาน. สถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน.
  • โล่เกียรติยศ บุคลากรดีเด่น (สายวิชาการ) ประเภทอาจารย์ดีเด่นด้านการวิจัย, คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2558
  • ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ด้านศิลปะสาขาโบราณคดี, กระทรวงวัฒนธรรม, 2558
  • ศิษย์เก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยนเรศวร, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2558
  • โล่เกียรติยศ ในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิผู้ที่ทำงานในการพัฒนาจังหวัดพิษณุโลกอย่างต่อเนื่อง, สมาคมสื่อท้องถิ่น, 2558
  • อาจารย์ผู้อุทิศตนเพื่อสังคม, คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2557
  • 20 ผลงานวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยนเรศวร, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552
 

ผศ. ดร.อุดมพร ธีระวิริยะกุล

Asst. Prof. Udomporn Teeraviriyakul
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1939
udomporn74@gmail.com

  • Ph.D. (Thai Studies), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
  • ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

โครงการวิจัย

  • โครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทสหกรณ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน: กรณีศึกษา สหกรณ์ภาคเหนือ ประเทศไทย”, สถาบันพระปกเกล้า, 2560
  • โครงการวิจัยเรื่อง “โครงการศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชน: ชุมชนคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ” ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่เขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2559
  • นักวิจัยร่วม, รายงานฉบับสมบูรณ์ “การประเมินผลโครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ,” สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ – สำนักงาน กปร., 2559
  • นักวิจัยในโครงการย่อย, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเพื่อมุ่งสู่อำเภอสร้างเสริมสุขภาพ (24DHS) อำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ – สสส., 2559)
บทความ
 
  • Teeraviriyakul, U. 2016. “Bangkok: From an Antique to a Modern City,” pp.119-136. In Sites of Modernity: Asian Cities in the Transitory Moments of Trade, Colonialism, and Nationalism V.1, ed. Wasana Wongsurawat (Berlin, Heidelberg: Springer).
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2559. “แนวคิดการสร้างชาติ: เชื้อชาติ ศาสนาและความเชื่อกับการสร้างอัตลักษณ์ กรณีของอินโดนีเซีย,” น.67-200. บทความนำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการเรื่อง “ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร: ความมั่นคง สังคม และวัฒนธรรม (History of Maritime Southeast Asia: Its Security, Society and Culture), สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, วันที่ 10-11 มีนาคม 2559.
  • สมลักษณ์ ศรีราม และ อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2559. “สมเด็จฮุน เซนกับการครองอำนาจนำทางการเมืองในกัมพูชา.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 94-112. (TCI กลุ่ม 2) *
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2559. “แนวทางการสร้างชาติ: เชื้อชาติ ศาสนา และความเชื่อกับการสร้างอัตลักษณ์: อินโดนีเซีย.” วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ, ฉบับที่ 38 (2559): 67-100.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2558. “จาก ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ สู่ ‘ประวัติศาสตร์ประชาคมอาเซียน’: ศึกษากรณีประวัติศาสตร์ไทยในมิติที่มีต่อความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน.” วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปีที 4 ฉบับที่ 2 (2558): 36-51.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2557. “Construction of National Heroes and Heroines in Southeast Asia (การสร้างวีรบุรุษ วีรสตรี และวีรชนของชาติอาเซียน),” น.167-191. บทความนำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการเรื่อง “ไทย-พม่าศึกษาในกรอบประชาคมอาเซียน” จัดโดยมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร, 18-19 ธันวาคม พ.ศ.2557.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2557. “ปริทัศน์หนังสือ Rudolf Mrazek’s A Certain Age: Colonial Jakarta through the Memories of its Intellectuals.” วารสารชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2557): 135-148.
  • Teeraviriyakul, U. 2014. “Religions and religious movements in nation-making in ASEAN.” ASIA REVIEW (Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University), Vol.27, pp. 93-109.
  • Teeraviriyakul, U. 2014. Bangkok Modern: The Transformation of Bangok with Singapore and Batavia as Models, 1861-1897. Bangkok: Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University.

หนังสือ

  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2558. สารานุกรมประวัติศาสตร์ประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ฉบับราชบัณฑิตยสภา. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. หน้า 63-93.
  • The Project of Empowering Network for International Thai Studies (ENITS), Chulalongkorn University, 2012
  • Asian Graduate Student Fellowships 2011, Asia Research Institute (ARI), Singapore (May – July 2011)
  • Visiting Scholar, Asia Research Institute (ARI), under the scholarship of H.R.H. Princess Sirindhorn, Singapore (May – July 2009)
  • Scholarship for the Doctoral Degree (Thai Studies Program, Chulalongkorn University), Faculty of Social Sciences, Naresuan University (June 2008 – September 2012)
  • Grant for the English Training Program, Massey University, New Zealand (March – May 2006)
  • Grant for the Indonesian Training Program, Southeast Asian Studies Regional Exchange Program (SEASREP), University of Indonesia, Indonesia (September 1998 – February 1999)
 

ผศ.ดร.ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว

Asst. Prof.Dr. Natthaphong Sakulleaw
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1934
nut_leaw@hotmail.com

  • ปร.ด. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

โครงการวิจัย

  • นักวิจัยในชุดโครงการวิจัยเรื่อง “วิธีวิทยาและองค์ความรู้เกี่ยวกับมนุษย์และวัฒนธรรมจากผลงานของนักมนุษยศาสตร์ นักมานุษยวิทยา และนักรัฐศาสตร์ไทย” โดยทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), ระยะเวลา 2 ปี, 2558 – 2560.
  • ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์, ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว, และอานนท์ ตันติวิวัฒน์. 2555. “การเกิดขึ้นและขยายตัวของนักข่าวพลเมืองกับความเปลี่ยนแปลงทางความคิดเรื่องสิทธิ เสรีภาพ และประชาธิปไตยในภาคเหนือของประเทศไทย.” รายงานการวิจัยได้รับทุนจาก “โครงการประชาธิปไตยเพื่อท้องถิ่น” ประจำปี พ.ศ.2555.
บทความ
 
 
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2559. “ชีวิตสามัญชนในภาคเหนือตอนล่างกับการก้าวสู่รัฐสมัยใหม่ของสยาม,” น. 79-118. ใน มนุษยศาสตร์ที่แปรเปลี่ยนในโลกที่เปลี่ยนแปลง, บก. อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ (กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์).
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2558ก. “การเดินทาง การศึกษา และการเลื่อนสถานะของสามัญชนในยุคเปลี่ยนผ่าน.” ชุมทางอินโดจีน, ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 (กรกฎาคม-ธันวาคม, 2558): 163-179.
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2558ข. “เสียงเพรียกก่อนอรุณรุ่ง: สามัญชนกับการสถาปนาระเบียบใหม่แห่งสยาม.” ชุมทางอินโดจีน, ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 (มกราคม-มิถุนายน, 2558): 123-150.
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2556. “ทุ่งมหาราช: ความหวังและความเคลื่อนไหวของสามัญชนสมัยปฏิรูป.” มนุษยศาสตร์สาร, ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม, 2556): 32-65.
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2555. “จาก ‘ทุนนิยมโดยรัฐ’ สู่ ‘รัฐทุนนิยม’ ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมกับการเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.” มนุษย์ศาสตร์สาร, ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555).
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2553. “จาก ‘ทุนนิยมโดยรัฐ’ สู่ ‘รัฐทุนนิยม’ ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมกับการเมืองไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ตุลาคม 2552-มีนาคม 2553): 58-78.
  • ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว. 2551. “การก่อตัวของ ‘ชนชั้นกลาง’ กับการเสื่อมสลายของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามและ “ทุนนิยมโดยรัฐ.” ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม, 2551): 128-149.
  • ณัฏฐพงษ์ เลี่ยววิวัฒน์อุทัย. 2551. “การ “ปรับตัว” ของ “นายทุนจีน” ภาพสะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมไทยในทศวรรษ 2490.” ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 29 ฉบับที่ 10 (สิงหาคม, 2551): 72-95.
หนังสือ
  •  
  • รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 3 ในโครงการประกวดเรียงความเรื่อง “ทิศทางของวิชาประวัติศาสตร์ในทศวรรษหน้า,” เนื่องในวันสถาปนาคณะมนุษยศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ครบรอบ 34 ปี, วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2552

ผศ. ดร.ชัยพงษ์ สำเนียง

Asst. Prof.Dr.Chaipong Samnieng
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1941
chaipong08@gmail.com , chaipongs@nu.ac.th

  • ปริญญาตรี ศึกษาศาตรบัณฑิต (สังคมศึกษา)
  • ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ปริญญาเอก สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

โครงการวิจัย

  1. โครงการ “ความสัมพันธ์ไร้พรมแดน: การจัดการทรัพยากรสองริมฝั่งโขง ของชาวเชียแสน-เชียงของ และต้นผึ้ง-ห้วยทราย” พ.ศ.2555-2556 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หัวหน้าโครงการ) (เสร็จสิ้นโครงการ)
  2. โครงการ แรงงานข้ามชาติอัตลักษณ์และสิทธิความเป็นพลเมือง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. พ.ศ.2556-2557 (หัวหน้าโครงการ) (เสร็จสิ้นโครงการ)
  3. โครงการวิจัย พลวัตการเมืองท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. พ.ศ.2556-2558 (หัวหน้าโครงการ) (เสร็จสิ้นโครงการ)
  4. โครงการวิจัย “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์” ระยะที่ 1 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ.2558-2560 หัวหน้าโครงการ อ.ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร (เสร็จสิ้นโครงการ)
  5. โครงการวิจัย “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์” ระยะที่ 2 หัวหน้าโครงการ อ.ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เป็นหัวหน้าโครงการย่อย “การแปรทุนเศรษฐกิจและวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย (พ.ศ. 2475-2560)” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2560-2562
  6. โครงการวิจัย ต่อยอดองค์ความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ ปี 2561 อ.ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2561-2562 (กำลังดำเนินการ)
  7. โครงการ ประเมินฯ ชุดวิจัยมุ่งเป้าด้านมนุษยศาสตร์ รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2562-2563 (กำลังดำเนินการ)
  8. โครงการ การเมืองดิจิตอล (digital politics) : การเปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองของคนกลุ่มใหม่ในโลกเสมือน หัวหน้าโครงการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2562-2563 (กำลังดำเนินการ)
บทความ
 
 
  • ชัยพงษ์  สำเนียง.  (2556). พิริยะเทพวงศ์อวตาร : วีรบุรษ กบฏ การประดิษฐ์สร้างตัวตนใหม่ทางประวัติศาสตร์  ศิลปวัฒนธรรม  ปีที่  34  ฉบับที่  9  หน้า : 114-129.______.  (2557).  คนกลุ่มใหม่ในชนบทกับการเมืองท้องถิ่น  วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2557) หน้า 127-166.______.  (2558).  ชุมชนจินตกรรม/ความชิดเชื้อทางวัฒนธรรม : สิ่งประกอบสร้างของความเป็นชาติ มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2557) หน้า 138-148. (บทวิจารณ์หนังสือ/บทความปริทัศน์)______.  (2558).  “ประวัติศาสตร์ของ ‘กบฏ’ ‘กบฏ’ ของประวัติศาสตร์” : กบฏเงี้ยวเมืองแพร่.  ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 36 ฉบับที่ 9 กรกฎาคม 2558.______.  (2559).  พลวัตไทย ลาว : การสร้างความหมายในทางเชื้อชาติ.  ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 37 ฉบับที่ 11 (ก.ย. 2559) หน้า 122-137.______.  (2559).  “การเมืองท้องถิ่นสหสัมพันธ์ของความสัมพันธ์หลายระดับ” วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): 106 – 137.______.  (2560).  “พัฒนาการของกลุ่มทุนและเครือข่ายธุรกิจในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2446-ปัจจุบัน” ใน ศุภการ สิริไพศาล และชัยพงษ์ สำเนียง. (บรรณาธิการ).  ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์.  กรุงเทพฯ  : โครงการความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ (สกว.).______.  (2561).  “พัฒนาการของกลุ่มทุนและเครือข่ายธุรกิจในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2446-ปัจจุบัน” วารสารไทศึกษา ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561)______.  (2561).  พัฒนาการกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย : การเปลี่ยนทุนเศรษฐกิจและ วัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมือง  วารสารพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1 : 1 (มกราคม – มิถุนายน) หน้า 1-53. ______.  (2561).  Book Review Imagining the Course of Life Self Transformation in a Shan Buddhist Community  ผี ขวัญ คน: ความหมายและความสัมพันธ์ของชีวิตคนไทใหญ่ รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 9 : 2 (มกราคม – มิถุนายน) หน้า 184-190. ______.  (2561).  ความย้อนแย้ง ยอกย้อน สับสนของการศึกษาประวัติศาสตร์นิพนธ์ล้านนา ใน ชัยพงษ์ สำเนียง และสมพงศ์ อาษากิจ. บรรณาธิการ.  (2561).  ข้ามพ้นกับดักคู่ตรงข้าม : ไทศึกษา ล้านนา คดี ประวัติศาสตร์ และมานุษยวิทยา.  เชียงใหม่ : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ______.  (2563).  อำมาตยาธิปไตยไทยกับการฉุดรั้งสังคมให้ก้าวย่ำอยู่กับที่ : มองสังคมไทยผ่าน Thailand, society and politics ของ John L. S. Girling รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 11 : 1 (มกราคม – มิถุนายน) กำลังจะพิมพ์ ชัยพงษ์  สำเนียง  และพิสิษฏ์  นาสี.  (2557).  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: พื้นที่การเมือง(กึ่ง)ทางการโดย คนที่ไม่เป็นทางการ.  มนุษยศาสตร์ศาสตร์ ปีที่ 15 2557(มกราคม – มิถุนายน). ชัยพงษ์  สำเนียง และพิสิษฏ์  นาสี.  (2557).  ประวัติศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือ: จากทางรถไฟสู่การ แย่งชิงทรัพยากร.  ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 35 ฉบับที่ 7.  หน้า 146-169. พิสิษฏ์ นาสี และชัยพงษ์ สำเนียง.  (2556).  การเลือกตั้ง: การสร้างเครือข่ายและสายใยความสัมพันธ์ใน การเมืองระดับท้องถิ่น.  วารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม 2556. อานันท์  กาญจนพันธุ์ และชัยพงษ์  สำเนียง. (2559).  พื้นที่ชีวิตแรงงานข้ามชาติไทใหญ่: การสร้างตัวตน และความเป็นพลเมืองในพื้นที่วัฒนธรรม. วารสารสังคมศาสตร์ (ม.ค.-มิ.ย. ปีที่ 28 เล่มที่ 1). หน้า 111-153. อานันท์ กาญจนพันธุ์ และชัยพงษ์ สำเนียง.  (2560).  “แรงงานข้ามชาติไทใหญ่ : พลเมืองไทยที่ยังไร้สถานะ พลเมืองตามกฎหมาย”.  มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 5 : 1 (มกราคม – มิถนายน 2560). หน้า 21-49. Chaipong Samnieng . (2561). The vote buying: situating agency in the politics of negotiating Identity Political Science and Public Administration Journal 9 : 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม)  1-48. ______.   (2561).  Even dictators can’t monopolise a poll.  Bangkok Post 22 Sep 2018
หนังสือ
  • อานันท์  กาญจนพันธุ์ และชัยพงษ์  สำเนียง. (2558).  แรงงานข้ามชาติอัตลักษณ์และสิทธิความเป็น พลเมือง.  เชียงใหม่: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, ชัยพงษ์ สำเนียง, กุลดา เพ็ชรวรุณ.  (2555).  กรณีศึกษาการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติขององค์กรปกครองท้องถิ่น.  เชียงใหม่ : มูลนิธิสถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ.
  • ชัยพงษ์  สำเนียง.  (2560).  พัฒนาการของกลุ่มทุนและเครือข่ายธุรกิจในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2446-ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ  : โครงการความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ (สกว.).
  • ชัยพงษ์  สำเนียง.  (2562).  พลวัตกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย : การเปลี่ยนทุนเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมือง (พ.ศ. 2475-2560). กรุงเทพฯ  : โครงการความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ (สกว.).
  • 2556 ถึง 2558 ได้รับทุนจากโครงการวิจัย พลวัตการเมืองท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส.
  • ระหว่างปีการศึกษา 2558 ถึง 2562 ได้รับทุนจากโครงการวิจัย “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • ปีการศึกษา 2560 ทุนมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี
  • 2561 ทุนสถาบันพระปกเกล้า

อาจารย์ปวีณา บุหร่า

Paweena Buhra
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1932
Email: knod_bu@hotmail.com

  • ศศ.ม. ประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ศศ.บ. ประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

โครงการวิจัย

  • คณะผู้เขียนสารานุกรมจังหวัดพิษณุโลก “วัดวังมะสระหรือวัดวังมะสระปทุมทอง” “เมืองพรหมพิราม” และ “นครป่าหมาก” ใน โครงการสารานุกรมของจังหวัดพิษณุโลก, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2553
  • การวิจัยเอกสารเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงแนวคิดสิทธิธรรมในการครองราชย์สมัยรัชกาลที่ 4 และ รัชกาลที่ 5” โดยทุนสนับสนุนจากคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2553
  • ผู้ช่วยนักวิจัย/เลขานุการ, โครงการศึกษาการตรวจสอบโดยสังคม: เครื่องมือด้านการบริหารจัดการเพื่อการลดความยากจนและเพื่อความเข้มแข็งชุมชนในประเทศไทย กรณีศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ร่วมกับ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI), 2548
บทความ
  • ปวีณา บุหร่า. 2553. “การเปลี่ยนแปลงแนวคิดสิทธิธรรมในการครองราชย์สมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5.” ชุดรายงานวิจัยเอกสารเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงแนวคิดสิทธิธรรมในการครองราชย์สมัยรัชกาลที่ 4 และ รัชกาลที่ 5” โดยทุนสนับสนุนจากคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปี 2553 ในโครงการประชุมวิชาการภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • ปวีณา บุหร่า. 2552. “นโยบายต่างประเทศของสหภาพโซเวียตที่มีต่อประเทศยุโรปตะวันออก.” รายงานการประชุมวิชาการสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • ปวีณา บุหร่า. 2550. “ความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย:แนวคิดที่หลากหลาย.” รวมบทความโครงการประชุมวิชาการประจำปีสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยนเรศวร.
หนังสือ
  • ปวีณา บุหร่า, (บก.). 2549. รวมบทความทางวิชาการทางประวัติศาสตร์ งานมุทิตาจิต รองศาสตราจารย์สุรีย์ พงศ์จันทร์ ในวาระเกษียณอายุราชการ. จัดพิมพ์โดยภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • ปวีณา บุหร่า. 2549. “อิสลามในสี่รัฐภาคเหนือของมาเลเซียตะวันตก.” รวมบทความวิชาการในงานประชุมวิชาการสาขาวิชาประวัติศาสตร์ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • 2556 ถึง 2558 ได้รับทุนจากโครงการวิจัย พลวัตการเมืองท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส.
  • ระหว่างปีการศึกษา 2558 ถึง 2562 ได้รับทุนจากโครงการวิจัย “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • ปีการศึกษา 2560 ทุนมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี
  • 2561 ทุนสถาบันพระปกเกล้า

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชนิดา พรหมพยัคฆ์

Asst. Prof.Chanida Prompayak
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1936
Email: chanida.puaksom@gmail.com

  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อ.บ. (เกียรตินิยมอันดับสอง) (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โครงการวิจัย

  • โครงการแปลงานเขียนชิ้นสำคัญด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษาของ Reynaldo C. Ileto, Pasyon and Revolution: Popular Movements in the Philippines, 1840-1910 (Quezon City: Ateneo de Manila University Press, 1979) โดยได้รับอนุมัติจากผู้เขียน (กำลังดำเนินการ)
  • โครงการวิจัย “สารานุกรมภาพยนตร์ฟิลิปปินส์” โดยทุนวิจัยของหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน), 2556.
บทความ
 
หนังสือ
  • ไมเคิล เจ. มอนเตซาโน. 2560. “ทุน รัฐ และสังคมในประวัติศาสตร์ของสมาคมบำรุงการศึกษาตรัง.” แปลโดยอำนวยวิชญ์ ธิติบดินทร์และชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. ใน ไทยใต้ มลายูเหนือ: ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, บก. ไมเคิล เจ. มอนเตซาโน และแพทริค โจรี, บก.แปล โดย จิรวัฒน์ แสงทอง และทวีศักดิ์ เผือกสม. นครศรีธรรมราช: หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  • ชนิดา เผือกสม. 2558. “ประวัติศาสตร์จากมุมมองของประชาชนฟิลิปีโน: การเขียน(ใหม่)ประวัติศาสตร์ฟิลิปปินส์ของเตโอโดโร อากอนซิลโล.” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 9 “ปัญญาชน ศีลธรรม และภาวะสมัยใหม่: เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้?” 27-28 สิงหาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก.
  • ริวันโต ตีรโตสุดาร์โม. 2556. “ชาวมลายู และ ชาวชวา ใน ‘ดินแดนใต้ลม’.” แปลโดย จิรวัฒน์ แสงทองและชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2556).
  • เรย์นัลโด้ อิเลโต้. 2553. “การวางโครงเรื่องประวัติศาสตร์ ฟิลิปปินส์แบบไม่เป็นเส้นตรง.” แปลโดย ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. วารสารรุไบยาต, ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (2553).
  • ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. 2546ก. “ธงชาติ เพลงชาติ สร้าง(รัฐ)ชาติไทย แผ่ขยายมหาอาณาจักรไทย.” ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 24 ฉบับที่ 5 (มีนาคม 2546): 130-145.
  • ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. 2546ข. “ธงไตรรงค์กับอุดมการณ์รัฐไทย.” รัฐศาสตร์สาร, ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (2546): 67-147.
  • ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. 2543. บทปริทัศน์หนังสือเรื่อง “The Buru Quartet ของ ปราโมทยา อนันต์ ตูร์: ขบวนการชาตินิยมอินโดนีเซียในสายตาของชาวชวา.” วารสารธรรมศาสตร์, ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม, 2543): 127-134.
  • ชนิดา เผือกสม (แปล). 2556. “บทที่ 3 ศตวรรษของคนไท-ไต พ.ศ. 1762-1893.” ใน เดวิด เค. วัยอาจ, ประวัติศาสตร์ไทยฉบับสังเขป, บก. กาญจนี ละอองศรี (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำรงสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2556).
  • แอนโธนี มิลเนอร์. 2551. เกอราจาอัน: วัฒนธรรมการเมืองมลายูในช่วงอรุณรุ่งของระบอบอาณานิคม. แปลโดย ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.
  • ราชโมฮัน คานธี. 2551. ความแค้นและความสมานฉันท์: การทำ ความเข้าใจประวัติศาสตร์เอเชียใต้. แปลโดยทวีศักดิ์ เผือกสม และชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
  • เบเนดิคต์ แอนเดอร์สัน. 2548. เทวตำนานและขันติธรรมของชาวชวา. แปลโดย ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. เอกสารโครงการภูมิภาคศึกษา (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้).
  • ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม. 2546. การเมืองในประวัติศาสตร์ธงชาติไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.

อาจารย์ดารุณี สมศรี

Darunee Somsri
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1938
Email: lamutsrida@yahoo.com; daruneeso@nu.ac.th

  • M.A. (History), Australian National University
  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อ.บ. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยศิลปากร

โครงการวิจัย

  • โครงการวิจัยเอกสารเรื่อง “ประวัติศาสตร์นิพนธ์ว่าด้วยพระราชชายา เจ้าดารารัศมีกับการสร้างอัตลักษณ์ของเชียงใหม่” ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีงบประมาณ, 2550.
บทความ
  • นิสาพร วัฒนศัพท์ และดารุณี สมศรี. 2550. “การประเมินความมั่นคงทางอาหารและพลังงานของชุมชนในพื้นที่เขื่อนสิริกิติ์ ด้วย Jarman Underprivileged Area Score.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (2560): 143-161.
  • ดารุณี สมศรี. 2559. “แม่บทประวัติศาสตร์แบบราชาชาตินิยมกับการสร้างบุคคลสำคัญของท้องถิ่นในภาคเหนือ” การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ 8 “วิจัยเพื่อประเทศไทย 4.0,” วันที่ 22-23 ธันวาคม 2559, มหาวิทยาลัยราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
  • Darunee Somsri. 2016. “The Ralitivism of a Heirarchy in the Ethnographic Writings of American Missionaries: The Preliminary of Ethnic Classification in Northern Siam.” The Faculty of Liberal Arts, Thammasart University (FATU) Conference 2016, 22-23 August 2016, Thammasart University, Bangkok.
  • ดารุณี สมศรี. 2552. “ประวัติศาสตร์นิพนธ์เรื่องพระราชชายาเจ้าดารารัศมีและอัตลักษณ์ของเชียงใหม่.” จุลสารหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ 12 (มิ.ย. 2551-พ.ค. 2552): 50-65.
หนังสือ

  • ทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย (สกอ.), 2556

อาจารย์ทิวาพร ใจก้อน

Thiwaporn Jaikorn
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1937
Email: Thiwapornj@nu.ac.th

  • อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศ.บ. เกียรตินิยมอันดับสอง (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

โครงการวิจัย

  • “พรรณพฤกษา: ว่าด้วยความรู้เรื่องพืชในสังคมสยาม” ภายใต้ชุดโครงการ ท่องไปบนดวงดาว ก้าวลงบนดวงจันทร์: ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ในสังคมไทย โดยทุนสนับสนุนจาก บพค. 2563 – 2564.
  • “การพัฒนาศักยภาพและการสร้างโอกาสให้กับผู้สูงวัยโดยผ่านกระบวนการทุนวัฒนธรรมชนสี่เผ่าในจังหวัดศรีสะเกษ” โดยทุนสนับสนุนจากหน่วยงานในระบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.), 2563.
  • “นวัตกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ตามอัตลักษณ์วัฒนธรรมผลิตภัณฑ์ชุมชนผ้าปักแซว บ้านรงระ ตำบลตูม อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ” โดยทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีที่ 1, 2562.
  • “รัฐไทยกับมุมมองเรื่องความแก่ชราและปัญหาผู้สูงอายุในจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2500 – 2561” โดยทุนสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 2562.
  • “แนวคิดและความรู้เรื่องภัยธรรมชาติในสังคมไทย พ.ศ. 2460 – 2560” โดยทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 2561.
  • “สวนสาธารณะกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของเมืองศรีสะเกษ พ.ศ. 2523 ถึงปัจจุบัน” โดยทุนสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 2559.
บทความ
 
  • ทิวาพร ใจก้อน, “แนวคิดและความรู้เรื่องภัยธรรมชาติในสังคมไทย พ.ศ. 2460 – 2560,” วารสารประวัติศาสตร์, ปีที่ 46 หน้า 161-174 (มกราคม – ธันวาคม 2564).
  • ทิวาพร ใจก้อน, “การศึกษาโลกทัศน์เกี่ยวกับภัยธรรมชาติในสังคมไทย พ.ศ. 2410 – 2469,” วารสารปณิธาน, ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 หน้า 96- 130 (มกราคม – มิถุนายน 2562).
  • ทิวาพร ใจก้อน, “สวนสาธารณะกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของเมืองศรีสะเกษ พ.ศ. 2523 – ปัจจุบัน” วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้า 84 – 100 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2560) .
  • ทิวาพร ใจก้อน, “ก่อนการมาถึงของ ‘เหตุที่เกิดอันตรายแก่ต้นเข้า’ : พืช สัตว์ และศัตรูพืชในสังคมไทยก่อนปฏิรูป พ.ศ. 2435,” วารสารชุมทางอินโดจีน : เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 หน้า 73 – 95 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2557).
  • Jaikorn, Thiwaporn. 2011. “A History of Alien Weed in Thai Society: The Case of Water Hyacinth 1901-1925” in the 6th Asian Graduate Forum on Southeast Asian Studies, Singapore (11-15 July 2011), Organized by Asia Research Institute, National University of Singapore.

หนังสือ

  • ทิวาพร ใจก้อน, รัฐสยามกับการจัดการธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ แนวคิดและความรู้เรื่องศัตรูพืชในสังคมไทย (กรุงเทพฯ : พีเพรส, 2558)
  • นักวิจัยดีเด่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (2564)
  • รางวัลเพชรมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ (2562)
  • Asian Graduate Student Fellowships 2011, Asia Research Institute (ARI), Singapore (May–July 2011)
  • ทุนอุดหนุนการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2550)

นางสาวนภัสกร เหล่าวาณิชวัฒนา

Napasakorn Laowanitwattana
เบอร์โทรศัพท์ 05596 1943
Email: klaowhana@gmail.com

  • บธ.ม. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • วท.บ. (กายภาพบำบัด), มหาวิทยาลัยนเรศวร